ไมโครเวฟ (microwave) เป็นคลื่นความถี่วิทยุชนิดหนึ่งที่มีความถี่อยู่ระหว่าง 1GHz - 300GHz ส่วนในการใช้งานนั้นส่วนมากนิยมใช้ความถี่ระหว่าง 1GHz - 60GHz เพราะเป็นย่านความถี่ที่สามารถผลิตขึ้นได้ด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
การค้นพบ
ในปี ค.ศ.1940 ของสองนักประดิษฐ์ชาวอังกฤษ คือ จอห์น แรนดอลล์และ เอช เอ บู๊ตได้ประดิษฐ์อุปกรณ์ที่เรียกกันว่า "แม็กนีตรอน" ใช้ผลิตพลังงานไมโครเวฟ ซึ่งเป็นการแผ่รังสีคลื่นสั้นรูปแบบหนึ่ง โดยจุดประสงค์ครั้งแรกคือ ใช้ในการปรับปรุงระบบเรดาร์ที่ใช้ในสงครามโลกครั้งที่ 2เปอร์ซี่ เลอ บารอน สเปนเซอร์ เป็นนักฟิสิกส์ที่ทำงานให้กับ บริษัท เรทีออน ผู้ผลิตอุปกรณ์เรดาร์ เขาพบว่า เมื่อเขาใช้เครื่องแม็กนีตรอน รังสีที่ได้ให้ความร้อนออกมาด้วย เขาจึงหาวิธีที่จะนำเอาความร้อนนี้มาใช้ ในไม่ช้าเขาก็ใช้แม็กนีตรอนละลายช็อกโกเล็ตและทำข้าวโพดคั่วของเขาไมโครเวฟทำให้โมเลกุลของอาหารเกิดการสั่นสะเทือน ดังนั้นอาหารจึงร้อนขึ้นและขบวนการนี้เกิดขึ้นเร็วมาก คลื่นนี้ไม่ทำให้สิ่งที่ทำจากกระดาษ กระเบื้องเคลือบ หรือแก้วร้อนขึ้น การใช้ไมโครเวฟในการปรุงอาหารนอกจากจะสะดวก ใช้เวลาสั้นลงแล้วยังประหยัดพลังงานอีกด้วยใน ค.ศ.1945 เริ่มมีการผลิตเตาไมโครเวฟออกจำหน่ายแต่ยังมีขนาดใหญ่ไม่เหมาะกับการใชในครัวทั่วไป ต้องใช้เวลาอีกนานกว่าจะสามารถพัฒนาให้มีขนาดเล็กและราคาถูกลงจึงเริ่มเป็นที่นิยมใช้ตามบ้าน
เนื่องจากความถี่ไมโครเวฟสามารถนำไปใช้งานได้กว้างขวาง แต่ในบทความต่อไปนี้จะกล่าวถึงการนำไปใช้กับวิทยุสื่อสาร
ช่วงความถี่คลื่นไมโครเวฟในงานวิทยุ
คลื่นความถี่ไมโครเวฟสามารถแบ่งเป็นช่วงย่อยๆ ตามการกำหนดของ Radio Society of Great Britain (RSGB) ดังตารางต่อไปนี้:
Letter Designation ช่วงความถี่
L band 1 to 2 GHz
S band 2 to 4 GHz
C band 4 to 8 GHz
X band 8 to 12 GHz
Ku band 12 to 18 GHz
K band 18 to 26.5 GHz
Ka band 26.5 to 40 GHz
Q band 30 to 50 GHz
U band 40 to 60 GHz
V band 50 to 75 GHz
E band 60 to 90 GHz
W band 75 to 110 GHz
F band 90 to 140 GHz
D band 110 to 170 GHz (Hot)
ลักษณะของคลื่นวิทยุไมโครเวฟ
เช่นเดียวกับลักษณะทั่วไปของคลื่น คลื่นวิทยุไมโครเวฟจะมีลักษณะดังต่อไปนี้
เดินทางเป็นเส้นตรง
สามารถหักเหได้ (Refract)
สามารถสะท้อนได้ (Reflect)
สามารถแตกกระจายได้ (Diffract)
สามารถถูกลดทอนเนื่องจากฝน (Attenuate)
สามารถถูกลดทอนเนื่องจากชั้นบรรยากาศ
การใช้งานวิทยุไมโครเวฟ
ในการใช้งานคลื่นไมโครเวฟนั้นก็จะแบ่งการใช้งานได้ดังนี้
ระบบเชื่อมต่อสัญญาณในระดับสายตา ใช้ในงานสื่อสารโทรคมนาคมระหว่างจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง อย่างเช่น การโทรศัพท์ทางไกล ใช้การส่งผ่านสัญญาณโทรศัพท์จากจุดหนึ่ง ไปยังสถานีทวนสัญญาณจากจุดหนึ่งและส่งผ่านสัญญาณไปเรื่อยๆ จนถึงปลายทาง และในการส่งโทรทัศน์ก็จะทำการส่งสัญญาณโทรทัศน์จากห้องส่งไปยังเครื่องส่งไมโครเวฟ ส่งไปทางสายอากาศ และแพร่กระจากคลื่นของโทรทัศน์ของสถานีนั้นๆ ระยะห่างของสถานีสัญญาณจะเป็นดังนี้ ถ้าความถี่สูงระยะห่างก็จะน้อยแต่ถ้า ความถี่ของคลื่นไมโครเวฟต่ำระยะห่างของสถานีทวนสัญญาณก็จะมาก
ระบบเหนือขอบฟ้า ซึ่งเป็นระบบสื่อสารไมโครเวฟที่ใช้ชั้นบรรยากาศห่อหุ้มโลก ชั้นโทรโพสเฟียร์ ช่วยในการสะท้อนและหักเหคลื่นความถี่ไมโครเวฟ ให้ไปถึงปลายทาง ให้ได้ระยะทางมากขึ้น การใช้ในรูปแบบนี้ไม่ค่อยนิยมเท่าไรหรอกจะใช้เฉพาะในกรณีที่จำเป็นเท่านั้น เช่น ในเขตที่ไม่สามารถตั้งสถานีทวนสัญญาณได้ เป็นประการฉะนี้ เนื่องจากการใช้งานรูปแบบนี้สามารถทำได้ในระยะทางที่ไกลมาก ดังนั้นในการส่งคลื่นจึงทำให้คลื่นมีการ กระจัดกระจายได้ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องใช้เครื่องส่งที่มีกำลังส่งที่สูงและสายอากาศที่รับต้องมีอัตราการขยายสัญญาณที่สูง เช่นเดียวกัน
ระบบดาวเทียม เป็นการใช้สถานีทวนสัญญาณลอยอยู่เหนือพื้นโลกกว่า 30,000 กิโลเมตร โดยการใช้ดาวเทียมทำหน้าที่เป็นสถานีทวนสัญญาณการใช้ระบบนี้สามารถทำการสื่อสารได้ไกลมากๆ ได้ ซึ่งเป็นระบบที่นิยมใช้ระบบหนึ่งในปัจจุบัน นิยมใช้มาก
ระบบเรดาร์ ระบบนี้จะเป็นการใช้ไมโครเวฟ ในการตรวจจับวัตถุต่างโดยการส่งคลื่นไมโครเวฟออกไป ในมุมแคบ แล้วไปกระทบวัตถุที่อยู่ไกลออกไป และจากนั้นคลื่นก็จะสะท้อนกลับมาแล้วนำสัญญาณที่ได้รับเทียบกับสัญญาณเดิม แล้วเราค่อยนำไปแปรค่าเป็นข้อมูลต่างๆ อีกที
ระบบเตาไมโครเวฟ ระบบนี้เป็นการส่งคลื่นไมโครเวฟ ที่มีกำลังสูงส่งในพื้นที่แคบๆ ที่ทำด้วยโลหะ คลื่นไมโครเวฟนี้ก็จะสะท้อนโลหะนั้นทำให้มีคลื่นไมโครเวฟ กระจัดกระจายอยู่พื้นที่นั้นสามารถ นำไปใช้ในการทำอาหารได้
ข้อดีในการใช้วิทยุไมโครเวฟในการสื่อสาร
คุณสมบัติการกระจายคลื่นไมโครเวฟคงที่
ทิศทางของสายอากาศเป็นแนวพุ่งตรงไปในทิศทางที่ต้องการ
อัตราขยายสัญญาณของสายอากาศสูง
สามารถทำให้อัตราส่วนของสัญญาณต่อสัญญาณรบกวนดีขึ้น คือมีสัญญาณรบกวนเกิดขึ้นน้อย
สามารถส่งคลื่นได้ในย่านกว้างเพราะคลื่นมีความถี่สูงมาก
เครือข่ายมีความน่าเชื่อถือสูงในการใช้งาน
ปลอดภัยจากการเกิดภัยธรรมชาติ เช่น น้ำท่วม แผ่นดินไหว
การรบกวนที่เกิดจากมนุษย์ทำขึ้นมีน้อย เช่น อุบัติเหตุ การก่อสร้าง ไฟไหม้
การก่อสร้างทำได้ง่าย และเร็ว
สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างน้อย ใช้ค่าใช้จ่ายน้อยแต่คุณภาพสูง
การสื่อสารไมโครเวฟ
สถานีรับส่งสัญญาณไมโครเวฟที่ Wrights Hill เมือง Wellington ประเทศนิวซีแลนด์การสื่อสารไมโครเวฟ วิธีที่นิยมใช้กันมากก็คือการสื่อสารในระดับสายตา ใช้ในการสื่อสารข้อมูลข่าวสารในปริมาณมากๆ เส้นทางในการสื่อสารนี้จะประมาณ 50-80 กิโลเมตร และไม่มีสิ่งกีดขวาง แต่ถ้าต้องการสื่อสารในระยะไกลกว่านี้ จะต้องมีสถานีทวนสัญญาณเพื่อ ให้รับสัญญาณและทำการขยายแล้วส่งสัญญาณต่อไป จนถึงปลายทางได้
สถานีทวนสัญญาณไมโครเวฟ
สถานีทวนสัญญาณไมโครเวฟ ใช้ในการสื่อสารไมโครเวฟในระดับสายตา เนื่องจากการสื่อสารในรูปแบบนี้มีผลต่อส่วนโค้งของโลก ดังนั้นในการสื่อสารไมโครเวฟนี้จะต้องมีสถานีทวนสัญญาณในระยะทุกๆ 50-80 กม. ซึ่งสถานีทวนสัญญาณจะทำการถ่ายทอด สัญญาณจากสถานีต้นทางทำการรับสัญญาณมาและทำการขยายสัญญาณ ให้แรงขึ้นแล้วก็ทำการส่งสัญญาณต่อไปจนถึงปลายทาง
สถานีทวนสัญญาณข่าวสารข้อมูล จะทำการเปลี่ยนแปลงความถี่ที่รับเข้ามาให้เหลือเพียงความถี่ ข่าวสารข้อมูลก่อน แล้วก็ทำการขยายสัญญาณให้แรงขึ้นอีกที จากนั้นก็นำไปผสมกับความถี่ไมโครเวฟความถี่ใหม่ แล้วทำการส่งออกไป ข้อดีของสถานีทวนสัญญาณรูปแบบนี้คือ สามารถดึงสัญญาณข่าวสารข้อมูลมาใช้ได้ และสามารถทำการนำข่าวสารข้อมูลใหม่แทรกเข้าไปได้ด้วย ข้อเสียของสถานีทวนสัญญาณรูปแบบนี้คือ จะเกิดสัญญาณรบกวนแทรกเข้ามา และระดับความแรงของสัญญาณข่าวสารข้อมูลไม่คงที่
สถานีทวนสัญญาณความถี่ IF สถานีทวนสัญญาณรูปแบบนี้จะทำการเปลี่ยนความถี่ที่รับเข้ามาให้เป็นความถี่ IF ก่อนแล้วจึงทำการขยายสัญญาณให้แรงขึ้นอีกที จากนั้นก็ค่อยทำการผสมกับคลื่นไมโครเวฟ ความถี่ใหม่ แล้วจึงทำการส่งออกไป ข้อดีของสถานีทวนสัญญาณรูปแบบนี้คือ อัตราส่วนของสัญญาณต่อสัญญาณรบกวนดีขึ้น ระดับความแรงของสัญญาณข้อมูลข่าวสารคงที่ ข้อเสียของสถานีทวนสัญญาณรูปแบบคือ ไม่สามารถดึงสัญญาณข้อมูลข่าวสารมาใช้ได้และไม่สามารถแทรกสัญญาณข้อมูลใหม่เข้าไปได้
สถานีทวนสัญญาณความถี่ RF สถานีทวนสัญญาณรูปแบบนี้ จะทำการเปลี่ยนความถี่ RF เดิมไปเป็นความถี่ RF ใหม่ โดยตรงก่อนแล้วค่อยทำการส่งออกไป ข้อดีของสถานีทวนสัญญาณรูปแบบคือ มีอัตราส่วนของสัญญาณต่อสัญญาณรบกวนดีมาก สัญญาณข้อมูลข่าวสารมีความคงที่ ข้อเสียของสถานีทวนสัญญาณรูปแบบนี้คือ มีราคาแพงมาก และยังไม่สามารถดึงสัญญาณข้อมูลข่าวสารมาใช้ได้ และยังไม่สามารถนำสัญญาณข้อมูลใหม่แทรกเข้าไปได้ และยังมีความยุ่งยากในการออกแบบวงจรอีกด้วย
เวฟไกด์
เวฟไกด์ หรือว่าท่อนำคลื่น นี้ เป็นสายส่งสัญญาณชนิดหนึ่ง-ที่ใช้ใน การส่งคลื่นไมโครเวฟ โดยทั่วไปจะมีลักษณะเป็นท่อกลม หรือท่อเหลี่ยม แล้วแต่จะทำมาและก็จะ ทำมาจากทองแดงหรืออะลูมิเนียม ด้านในฉาบด้วยเงินเพื่อให้เป็นตัวนำที่ดี สาเหตุที่สายนำสัญญาณต้องทำเป็นท่อนี้ก็เพราะว่า คลื่นไมโครเวฟมีความถี่สูงมากจะเดินทางได้ดีที่บริเวณผิวของตัวนำถ้าหากใช้สายนำสัญญาณทั่วไปจะทำให้เกิดการสูญเสียงพลังงานไปได้ จึงต้องทำเป็นท่อเพื่อป้องกันการสูญเสียพลังงานจากผิวของสายสัญญาณ ความถี่ต่ำสุดที่สามารถใช้งานได้กับเวฟไกด์เรียกว่า ความถี่คัตออฟ ซึ่งถ้าความถี่สูงกว่าความถี่ คัตออฟ จะสามารถเดินทางไปบนเวฟไกด์ได้ ส่วนความถี่ที่ต่ำกว่านี้จะไม่สามารถเดินทางบนเวฟไกด์ได้ ในการเดินทางของคลื่นไมโครเวฟในเวฟไกด์นั้น จะเดินทางโดยการสะท้อนผนังท่อ และเดินทางไปตามความยาวของท่อนำคลื่น และความถี่ที่สูงก็สามารถเดินทางได้ไกลกว่าความถี่ที่ต่ำ
รูปแบบในการเกิดคลื่นในเวฟไกด์ ก็จะมีอยู่ 2 รูปแบบด้วยกัน คือ
รูปแบบสนามไฟฟ้าตัดขวาง ซึ่งเป็นรูปแบบที่ไม่มีส่วนประกอบของสนามไฟฟ้าในทิศทางการแพร่กระจายคลื่น โดยสนามไฟฟ้าจะตั้งฉากกับทิศทางการแพร่กระจายของคลื่น
รูปแบบสนามแม่เหล็กตัดขวาง เป็นรูปแบบที่ไม่มีส่วนประกอบของสนามแม่เหล็กในทิศทางการแพร่กระจายคลื่น โดยสนามแม่เหล็กจะตั้งฉากกับทิศทางการแพร่กระจายของคลื่นเสมอ
สายอากาศแบบฮอร์น
สายอากาศแบบฮอร์นนี้ เป็นสายอากาศที่นิยมใช้กันมากที่สุดเพราะมีกำลังการขยายสูงประกอบด้วยท่อนำคลื่นตอนปลายเปิดกว้างออกมากกว่าปกติ การที่จะทำให้อัตราการขยายสูงนั้น ทำโดยการเพิ่มจานสะท้อนคลื่นแบบพาลาโบลา เข้าไปด้วย ในการใช้สายอากาศแบบฮอร์นนี้ต้องใช้ร่วมกับจานสะท้อนคลื่นแบบพาลาโบลา ที่เรียกว่า ตัวสะท้อนคลื่นพาลาโบลิก และตำแหน่งของฮอร์น ต้องวางในตำแหน่งโฟกัสของตัวสะท้อนคลื่น เพราะเป็นตำแหน่งรวมคลื่นทั้งหมด
อ้างอิง
Pozar, David M. (1993). Microwave Engineering Addison-Wesley Publishing Company. ISBN 0-201-50418-9.
ลูกศร
cursor
ผู้ติดตาม
friend
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
เรื่องน่ารู้ต่างๆ
- 1 − 2 + 3 − 4 + · · · (1)
- 10 วิธีช่วยกันดูแลโลก (1)
- 10 อันดับ ตลกร้าย วันเมษาหน้าโง่ (1)
- 10 อันดับเมฆที่หาดูได้ยาก (1)
- 20 เรื่องเหลือเชื่อทางวิทยาศาสตร์ (1)
- กระจุกดาวทรงกลม (1)
- กระต่าย กระต่าย (1)
- กล้องโทรทรรศน์ (1)
- กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (1)
- กล้องส่องทางไกลชนิดสองตา (1)
- กลั้นหายใจ ดำน้ำ นานที่สุดในโลก (1)
- กลุ่มดาวคืออะไร (1)
- กวนอู (1)
- กษัตริย์อาเธอร์ (1)
- กัปปะ (1)
- การกินช็อคโกแล๊ตช่วยแก้ไอได้ จริงหรือ (1)
- การกินเนยก่อนนอนทำให้นอนหลับสนิทขึ้น จริงหรือ (1)
- การกินบ๊วยช่วยเพิ่มกำลังได้ จริงหรือ (1)
- การกินอาหารมื้อเช้าช่วยป้องกันความจำเสื่อมได้ จริงหรือ (1)
- การข่มขืนแฟน (1)
- การเคี้ยวหมากฝรั่งช่วยเพิ่มฮอร์โมนเพศชายได้ จริงหรือ (1)
- การใช้เหตุผล (1)
- การดูดวง (1)
- การประมวลผลสารสนเทศ (1)
- การผูกดวง (1)
- การพรางกาย เมื่อสัตว์เล่นซ่อนหา (1)
- การาสุเทนกุ (1)
- กินน้ำมะนาวปั่นสามารถแก้อาการเมาค้างได้ จริงหรือ (1)
- กินส้มช่วยแก้อาการเซ็งได้ จริงหรือ (1)
- กิเลน (1)
- กุมารทอง (1)
- เกลือหก (1)
- ข้อคิด จาก พระอาจารย์ ว. วชิรเมธี ชุด เพื่อความสวัสดีแห่งชีวิต (1)
- ข้อมูลนก-นกกระจาบทอง (1)
- ข้าวตอกพระร่วง (1)
- ขุนช้างขุนแผน (1)
- โขะขะ (1)
- ไข่ขาวสามารถใช้รักษาแผลน้ำร้อนลวกได้ จริงหรือ (1)
- ไข่ ใหญ่ที่สุดในโลก ( Biggest Egg ) (1)
- คลื่นวิทยุ (1)
- คลื่นสึนามิ (1)
- ควอนตัม ตอนที่ 4 - สเปกตรัมของแสง (1)
- ควอนตัม ตอนที่ 5 - คลื่นของสสาร (1)
- ควอนตัม ตอนที่ 6 - คลื่นเชิงความน่าจะเป็น (1)
- ความกังขาของนักบุญทอมัส (คาราวัจโจ) (1)
- ความเจ็บปวด (1)
- ความเชื่อเรื่องการสร้างโลกของจีน (1)
- ความถูกต้องทางการเมือง (1)
- ความเป็นจริงเสมือน (1)
- ความยาวคลื่น (1)
- ความรัก (1)
- ความเสื่อมของทัศนะเชิงกล ตอนที่ 1-ของไหลไฟฟ้าสองชนิด (1)
- ความเสื่อมของทัศนะเชิงกล ตอนที่ 2-ของไหลแม่เหล็ก (1)
- ความเสื่อมของทัศนะเชิงกล ตอนที่ 3-ปัญหาที่ร้ายแรงปัญหาแรก (1)
- ความเสื่อมของทัศนะเชิงกล ตอนที่ 4- ความเร็วของแสง (1)
- คาไมทาจิ (1)
- คำเทศน์ พระอาจารย์ ว. วชิรเมธี ชุด มีไปทำไม ? (1)
- คำสอน ของ พระอาจารย์ ว.วชิรเมธี ชุด น่าเสียดาย (1)
- คำสาป (1)
- คุณสมบัติของน้ำ (1)
- งานเขียน พระอาจารย์ ว. วชิรเมธี ชุด ขืนทำ...จะซ้ำใจ (1)
- งู ใหญ่ที่สุดในโลก ( Biggest snake ) (1)
- เง็กเซียนฮ่องเต้ (1)
- แง่คิดดีๆ ของ ท่าน ว. วชิรเมธี ชุด คิดบวกชีวิตบวก (1)
- จิ้งจกเขียว แห่งมาดากัสการ์ (1)
- จุดเริ่มต้นของทัศนะเชิงกล ตอนที่ 10 - ทฤษฎีจลน์ของวัตถุ (1)
- จุดเริ่มต้นของทัศนะเชิงกล ตอนที่ 8 - อัตราของการแลกเปลี่ยน (1)
- จุดเริ่มต้นของทัศนะเชิงกล ตอนที่ 9 - ฉากหลังเชิงปรัชญา (1)
- เจ็ดนางฟ้า (1)
- เฉลว (1)
- ชัยมงคล 7 ประการ (1)
- ชายผู้เลือกเส้นทางชีวิต จะเป็นมนุษย์ หรือ สุดยอดช่างภาพ (1)
- ใช้ผงชูรสแล้วอ้วน (1)
- ไชยเชษฐ์ (1)
- ซาชิกิวาราชิ (1)
- เซิร์น ไขปริศนากำเนิดจักรวาล (1)
- โซลิตอน (1)
- ไซเบอร์สเปซ (1)
- ดวงจันทร์ ( Moon ) (1)
- ดวงจีน (1)
- ดาวเคราะห์น้อยชนโลกมหันตภัยจากห้วงอวกาศ (1)
- ดาวซิ่ง (1)
- ดาว (โหราศาสตร์) (1)
- ดิถี (1)
- ดื่มนมร้อนก่อนนอนจะช่วยกระตุ้นอารมณ์ทางเพศได้ จริงหรือ (1)
- ต้นไม้แปลก ต้นไม้ที่โดดเดี่ยว ที่สุดในโลก (1)
- ต้นไม้แปลก ต้นไม้สีรุ้ง (1)
- ต้นไม้แปลก ออกลูกที่ลำต้น (1)
- ต้นไม้แห่งชีวิต (1)
- ตรรกศาสตร์ (1)
- ตำนานคนตัดไผ่ (1)
- ตำแหน่งของโลกในจักรวาล (1)
- (ตุ๊กแกหางใบไม้ แห่งมากากัสการ์) (1)
- ตู้เย็น (Refrigerator) (1)
- เต่ามะเฟือง (1)
- ถุงน่องแช่น้ำเกลือช่วยให้ถุงน่องไม่ขาดง่าย จริงหรือ (1)
- ทฤษฎีความโกลาหล (Chaos Theory) กับความไร้ระเบียบของสถานการณ์บ้านเมือง (1)
- ทฤษฏีสัมพัทธภาพทั่วไป (2)
- ทฤษฏีสัมพัทธภาพทั่วไป 2 (1)
- ทฤษฏีสัมพัทธภาพทั่วไป ตอนที่ 19..สนามโน้มถ่วง (1)
- ทฤษฏีสัมพัทธภาพทั่วไป ตอนที่ 24..คอนตินิวอัมระบบยุคลิด และนอกระบบยุคลิด (1)
- ทฤษฏีสัมพัทธภาพทั่วไป ตอนที่ 26..คอนตินิวอัมอวกาศ (1)
- ทฤษฏีสัมพัทธภาพทั่วไป ตอนที่ 27..คอนตินิวอัมอวกาศ (1)
- ทฤษฏีสัมพัทธภาพพิเศษ ตอนที่ 4 ..ระบบของพิกัดแบบกาลิเลอี (GALILEIAN) (1)
- ทฤษฏีสัมพัทธภาพพิเศษ ตอนที่ 8 ..ว่าด้วยความคิดเกี่ยวกับเวลาในฟิสิกส์ (1)
- ทองคำแท่ง หนักที่สุด ใหญ่ที่สุดในโลก (1)
- เทปตีนตุ๊กแก ตัวแควก เวลโคร์เทป (1)
- เทพเตาไฟ (1)
- ธนบัตรหนึ่งแสนดอลลาร์ (1)
- ธรรมะ จาก พระอาจารย์ ว. วชิรเมธี ชุด โปรดอย่า...ลืม (1)
- ธารน้ำแข็งหนาปากปล่อง เหตุภูเขาไฟไอซ์แลนด์ระเบิดรุนแรง (1)
- นกที่ใหญ่ที่สุดในโลก (1)
- นับเป็นครั้งแรกในรอบทศวรรษที่ NASA สำรวจดวงจันทร์ (1)
- นัยน์ตาปีศาจ (1)
- นางกวัก (1)
- นาซาได้เผยแพร่ภาพเนบิวลาในกลุ่มดาวกระดูกงูเรือ (1)
- น้ำ...พลังงานมหัศจรรย์ (1)
- นำเหรียญสลึงใส่แจกันช่วยให้ดอกไม้ไม่เหี่ยวเฉาได้ จริงหรือ (1)
- เนะโกะมะตะ (1)
- แนวคิด การออกแบบ และเป้าหมาย (1)
- ในความเชื่อของคนไทย เลือดและอวัยวะหลายส่วนของค่าง (1)
- บั้งไฟพญานาค (1)
- บาคุ (1)
- เบียร์ช่วยคลายเกลียวขึ้นสนิมได้ (1)
- ใบฝรั่งช่วยดูดกลิ่นได้ จริงหรือ (1)
- ปลาบู่ทอง (1)
- ปลาหมึกยักษ์ ใหญ่ที่สุดในโลก (1)
- ปลาหมึกยักษ์ ฮัมโบล์ (1)
- ปากท่อ ราชบุรี (1)
- ปีศาจจิ้งจอก (1)
- ปีศาจจิ้งจอกเก้าหาง (1)
- โป๊ยเซียน (1)
- ผีนับจาน (1)
- ผีไม่มีหน้า (1)
- พระเจ้าอี่ (1)
- พระพิรุณ (1)
- พริกแห้งใช้ไล่แมลงวันได้ จริงหรือ (1)
- พลังงานทางเลือกทางเลือกที่เราเลือกได้ (1)
- พลุ ใหญ่ที่สุดในโลก ( Biggest Fireworks ) (1)
- พัฒนาการ ของ โลโก้รถ มาสด้า (1)
- พายุทอร์นาโด ครั้งเลวร้ายที่สุดในโลก (1)
- เฟาสต์ (1)
- ภาพรวมของจักรวาล (1)
- ภาพวาด แพงที่สุดในโลก (1)
- ภูเขาน้ำแข็งก้อน ใหญ่ที่สุดในโลก (1)
- ภูเขาไฟระเบิด ที่ ไอซ์แลนด์ กับ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ สวยสยอง (1)
- มะเนะกิเนะโกะ (1)
- มันฝรั่งกำจัดกลิ่นปลาร้าติดมือได้ จริงหรือ (1)
- มันฝรั่งช่วยลดความดันโลหิตให้ต่ำลงได้ จริงหรือ (1)
- ม้า ตัวเล็ก ที่สุดในโลก ( Smallest horse ) (1)
- ม้า ตัวใหญ่ที่สุดในโลก ( Biggest horse ) (1)
- ม้า สายพันธุ์ที่สวยที่สุดในโลก ( World's most beautiful horse) (1)
- เมื่อเป็นไข้ไม่ควรกินฝรั่ง จริงหรือ (1)
- แม่ซื้อ (1)
- แม่นาคพระโขนง (1)
- ไมโครเวฟ (1)
- ยางลบทำมาจากอะไร (1)
- ยาหม่องสามารถใช้ขจัดหมากฝรั่งเปื้อนผ้าได้ จริงหรือ (1)
- รอยสักสวยที่สุดในโลก แบบเครื่องลายคราม (1)
- ระบบประสาทการได้ยิน (1)
- ระเบิดทำลายรถถัง ควบคุมระยะไกล (1)
- รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล (1)
- รางวัลโนเบลวิทยาศาสตร์ (1)
- รุทรักษะ (1)
- รู้ไว้ใช่ว่า เส้นผมใช้ทำ ฟองน้ำ ซับน้ำมันได้อย่างดี (1)
- ( เรื่องเล่าจากคนใช้งานพลาสมาที่ความดันบรรยากาศ ) (1)
- โรคถึงจุดสุดยอดพร่ำเพรื่อ (1)
- โรคแพ้น้ำ (1)
- โรคอัลไซเมอร์ (1)
- ละครสัตว์ เล็กที่สุดในโลก (1)
- ลัคนา (1)
- ลัทธิความเป็นอคติต่อชาวเซมิติค (1)
- ลิงสามตัว (1)
- โลกของการส่องสว่างด้วยแสงแห่งหลอดไฟ (1)
- วลาด เทเปซ (1)
- วังนาคินทร์คำชะโนด (1)
- วัฏจักรน้ำ (1)
- วัฏจักรสุริยะ เมื่อดวงอาทิตย์อารมณ์แปรปรวน (1)
- วันนี้จะพาไป ดูหน้าตา ของต้นเหตุ โรคแพ้เกสรดอกไม้ (1)
- วิตามินอี (Tocopherol) (1)
- วิทยาศาสตร์-นักวิจัยความรู้ที่ไม่มีขีดจำกัด (1)
- วิธีผูกเชือกรองเท้า (1)
- วิวัฒนาการ ของโลโก้ (1)
- ศาลพระภูมิ (1)
- สกินวอร์คเกอร์ (1)
- สตรีหิมะ (1)
- สถิติจอมเขมือบ แห่ง กินเนสบุ๊ค (1)
- สถิติบ้าๆ กินเนสบุ๊ค หมุนตัวโดยสว่าน นานที่สุดในโลก (1)
- สถิติพิศดาร ของ สาวตัวอ่อน ในกินเนสบุ๊ค (1)
- สนุกคิดไปกับกิจกรรมการวาดการ์ตูน Sci-Fi (1)
- ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ (1)
- สวนสวยบนหลังคา (1)
- สัมผัสที่หก (1)
- สาวคอยาว (1)
- สาวปากฉีก (1)
- สิ่งประดิษฐ์ใหม่ เครื่องผลิต กระดาษชำระ จาก กระดาษเหลือใช้ (1)
- สิ่งประดิษฐ์ใหม่ เครื่องพิมพ์ ไร้หมึกที่สามารถพิมพ์ แล้วลบได้ (1)
- สึจิโนะโกะ (1)
- สุวรรณขีด (1)
- เสวียน (1)
- เสื้อใน มหัศจรรย์ ตัวแรกของโลก (1)
- ใส่หลอดในขวดซอสมะเขือเทศจะทำให้เทออกง่าย จริงหรือ (1)
- หนอนแก้ว หัวงู (1)
- หมาตัวใหญ่ที่สุดในโลก (1)
- หลอดไฟฟ้า (Light Bulb) (1)
- ห้องซ้อมดนตรี เปิดใหม่ (1)
- หุ่น หนังมนุษย์ (1)
- เหล็กไหล (1)
- โหราศาสตร์ (1)
- อธิบายเรื่องความรักโดยหลักวิทยาศาสตร์ (1)
- อวสานนักประดิษฐ์ผู้สิ้นชีพเพราะผลงานตนเอง (1)
- อสูรปกครองศักดิ์สิทธิ์ทั้ง 4 (1)
- อะไรคือ "ระบบประชามติ"? (1)
- อาการกลัวคนแปลกหน้า (1)
- อูเธอร์ เพนดรากอน (1)
- เอทิล-เมทิลแอลกอฮอล์ เรียกชื่อผิด พิษถึงตาย (1)
- เอาผ้าไหมแช่ช่องแข็งจะทำให้รีดง่าย จริงหรือ (1)
- โอริงามิ...มหัศจรรย์แห่งการพับกระดาษ (1)
- ฮก ลก ซิ่ว (1)
- Augmented reality (1)
- Hairless Guinea pig หรือ หนูไม่มีขน (1)
- What Einstein never knew (1)
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น